Top latest Five จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม Urban news

สำหรับข้อห้ามเกี่ยวกับการสมรส ยังคงไว้ตามเดิม คือ

แต่เดิมการหมั้นและการสมรสต้องเป็นการกระทำระหว่างชายโดยกำเนิดและหญิงโดยกำเนิดเท่านั้น และโดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องหมั้น แต่เดิมอนุญาตให้ชายโดยกำเนิดเป็นฝ่ายเข้าไปหมั้นหญิงโดยกำเนิด หญิงจึงเป็นฝ่ายรับหมั้น บัดนี้กฎหมายจะอนุญาตให้บุคคลสองคนไม่ว่าเพศใดก็สามารถหมั้นและสมรสได้ เป็นการปลดล็อกเงื่อนไขเรื่องเพศในการหมั้นและการสมรส 

แม้ว่านี่จะยังไม่ใช่ขั้นตอนสุดท้าย แต่ก็นับว่าเป็นหมุดหมายสำคัญไปสู่การยอมรับและยกย่องความรักในทุก ๆ รูปแบบ เราขอเดินเคียงข้างประเทศไทยบนเส้นทางสู่ความก้าวหน้าและการไม่แบ่งแยก

นฤพนธ์ กล่าว “ลัทธิอาณานิคมทำให้วิธีคิดเกี่ยวกับเพศมีเพียงชายกับหญิงเท่านั้น ทำให้ธรรมเนียมเก่าที่เขาเคยเปิดรับ [ผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศ] กลายเป็นเรื่องที่ผิดกฎหมายไป”

จับตาศึกชิงเก้าอี้ร้อน ‘ประธานบอร์ดแบงก์ชาติ’ ที่มีอำนาจควบคุม ธปท.

กำหนดให้สิทธิรับค่าเลี้ยงชีพในกรณีหย่าหมดไป ถ้าฝ่ายที่รับค่าเลี้ยงชีพสมรสใหม่ หรือจดทะเบียนคู่ชีวิต

คู่รักสามารถจัดการสิ่งต่าง ๆ ให้ได้ อาทิ การดูแลตัดสินใจเรื่องทางการแพทย์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการเบิกรักษาพยาบาล การตัดสินใจสำคัญทางการแพทย์ในกรณีที่คน ๆ นั้นไม่สามารถตัดสินใจด้วยตัวเองได้ หรือกรณีที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเสียชีวิต อีกฝ่ายก็จะมีสิทธิในการจัดการศพได้ด้วยนั่นเอง

ยกตัวอย่างเช่นประเทศพม่า (สมัยก่อนเปลี่ยนชื่อเป็น เมียนมา ในเวลาต่อมา) แต่ก่อนเคยมีลักษณะเป็นพื้นที่เปิดรับผู้มีความหลากหลายทางเพศคล้ายกันกับไทย โดยพบว่าคนข้ามเพศสามารถแสดงตัวตนในพิธีกรรมทางศาสนาได้ เช่น เป็นร่างทรง เป็นผู้ประกอบพิธีกรรมสำคัญในงานแต่งงาน เป็นผู้ติดต่อวิญญาณสิ่งศักดิ์สิทธิ์ คล้าย ๆ ผู้นำพิธีหรือเจ้าพิธี เป็นต้น

ดร.นฤพนธ์ แสดงทัศนะด้วยว่า สื่อมวลชนก็เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่ตอกย้ำอคติต่อผู้ที่มีความหลากหลายทางเพศ โดยเฉพาะสำนักข่าวหัวสีที่มักพาดหัวข่าวอาชญากรรมในทางหวือหวาและตอกย้ำว่าผู้มีความหลากหลายทางเพศเป็นพวกวิกลจริตผิดปกติ

จับตาศึกชิงเก้าอี้ร้อน ‘ประธานบอร์ดแบงก์ชาติ’ ที่มีอำนาจควบคุม ธปท.

‘เศรษฐา’ ยินดี กฎหมายสมรสเท่าเทียมสร้างความเสมอภาค ความหลากหลายทางเพศ

‘เศรษฐา’ ยินดี กฎหมายสมรสเท่าเทียมสร้างความเสมอภาค ความหลากหลายทางเพศ

เมื่อ ‘สมรสเท่าเทียม’ จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม กำลังจะมา ประเทศไทยพร้อมหรือไม่ ที่จะ ‘เข้าใจ’ และ ‘เปลี่ยนแปลง’?

พ.ร.บ. สมรสเท่าเทียม บันไดก้าวสู่สิทธิพื้นฐานสำหรับคู่รักทุกเพศ

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *